บ้านน้ำตก หมู่ที่ 5
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
เดิมหมู่ที่ 5 เป็นส่วนหนึ่งของหมู่ที่ 1 ตำบลปาเสมัส ได้แยกเป็นหมู่บ้านเมื่อ วันที่ 27 มิถุนายน 2529 “คำว่า น้ำตก” มาจากภาษาท้องถิ่นว่า “ไอร์ตืรยูน” คำว่าน้ำตกเป็นปรกกฎการณ์ตามธรรมชาติ ซึ่งเดิมเมื่อประมาณ 100 ปี กว่ามาแล้ว ระดับน้ำที่ไหลลงสู่ที่ราบตามคูข้ำจากบริเวณที่สูงไหลลงมาที่คูอย่างรวดเร็วทำให้เป็นน้ำตก โดยสาเหตุนี้เอง ชาวบ้านในละแวกนั้นจึงตั้งชื่อหมู่บ้านนี้ว่า ”บ้านน้ำตก”
อาณาเขต มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ บ้านตือระหมู่ที่ 2 ตำบลปาเสมัส
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ แม่น้ำสุไหงโก-ลก และเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
ทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ำสุไหงโก-ลก
ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ หมู่ที่ 6 บ้านซรายอออก ตำบลปาเสมัส
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ
มี ๒ ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน
- ฤดูฝน มี ๒ ระยะ คือระยะรับลมสรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ในระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึงเดือน ตุลาคมเป็นช่วงเกิดภาวะฝนฟ้าคะนองและระยะรับลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนจะตกชุกในเดือน พฤศจิกายนถึงเดือน มกราคม เป็นช่วงที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมในพื้นที่ราบและราบลุ่มเป็นประจำทุกปี
- ฤดูร้อน อยู่ระหว่าง เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน
ภูมิประเทศ
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบและราบลุ่ม
ประเพณีและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีชาวไทยมุสลิม จะมีเอกลักษณ์เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาอิสลาม เช่น การแต่งงาน งานอีดิลฟิตตรี วันอีดิลอัฎฮา วันเมาลิต ส่วนชาวไทยพุทธ มีเอกลักษณ์คล้ายคลึงกับชาวไทยพุทธจังหวัดภาคใต้ทั่วไป ๆ มีงานเดือน 10 วันเข้าพรรษา ออกพรรษา
อาชีพ
(1) อาชีพหลักของประชากรในหมู่บ้าน (เรียงจากมากไปน้อย)
-ประกอบอาชีพรับจ้าง
-ค้าขาย
-รับจ้าง
(2) อาชีพรอง/อาชีพเสริม ของประชากรในชุมชน/หมู่บ้าน (เรียงจากมากไปน้อย)
-ปลูกผัก
-เลี้ยงสัตว์
-ทำขนม
(3) ช่วงชั้นเศรษฐกิจในหมู่บ้าน
-กลุ่มผู้มีรายได้สูงสุดในหมู่บ้าน มีรายได้ประมาณ36,000 บาท/เดือน
ได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และค้าขาย
-กลุ่มผู้มีรายได้ต่ำสุดในหมู่บ้าน มีรายได้ประมาณ 8,000 บาท/เดือน
ได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม
-รายได้เฉลี่ยของประชากรหมู่บ้าน 6,000 บาท/เดือน
ด้านศาสนา ประชาชนของหมู่บ้าน น้ำตก
นับถือศาสนาอิสลาม จำนวน คิดเป็นร้อยละ 75 %
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 25 %
นับถือศาสนาอิสลาม จำนวน คิดเป็นร้อยละ 75 %
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 25 %
การศึกษา
หมู่บ้าน น้ำตก ไม่มีโรงเรียนสังกัดในกระทรวงศึกษาธิการ
การประปา
ส่วนใหญ่จะใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาค
การไฟฟ้า
ประชาชนใช้บริการไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอสุไหงโก- ลก
การคมนาคม
ประชากรของหมู่บ้าน ใช้เส้นทางการคมนาคมทางบก ทางรถยนต์ รถจักรยานยนต์
ต้นทุนหมู่บ้าน
ทุนที่เป็นตัวเงิน
ทุนที่เป็นตัวเงิน
- กองทุนหมู่บ้าน
ทุนที่ไม่เป็นตัวเงิน
- สวนยางพารา
- สวนผลไม้
- แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ปราชญ์ชาวบ้าน
- กลุ่มอาชีพต่างๆ
รายชื่อผู้นำในชุมชน
ลำดับที่
|
ชื่อ-สกุล
|
ตำแหน่ง
|
เบอร์โทร.
|
หมายเหตุ
|
1
|
นายนิพา นิแว
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
-
| |
2
|
นางไซโตน ดอรอแม
|
กพสม.
| ||
3
|
นายมะแซมซอรี เจะอูมา
|
กยม.
| ||
4
|
นายหะยยีเสะ หะยีมะมิง
|
อิหม่าม
|
มัสยิดบือเจาะ
| |
5
|
นายต่วนนิตายุดิง แวสามิง
|
คอเต็บ
|
มัสยิดบือเจาะ
| |
6
|
นายมูฮำมัด เจ๊ะมี
|
บิหลั่น
|
มัสยิดบือเจาะ
| |
7
|
นายกอเซ็ง แปแนะเฮ็ง
|
ประธานชุมชน
| ||
8
|
นายนิพา นิแว
|
ประธานกองทุนหมู่บ้าน
| ||
9
|
นายมะรอเซะ ลีมา
|
ประธาน SML
| ||
10
|
นางฮัจญะห์มาดีนะห์ เด็งซา
|
ประธานกลุ่มอาชีพปักจักร
|
08-9298-1970
| |
11
|
นางสาวนายีเราะ สือนิ
|
อาสาพัฒนาชุมชน
| ||
12
|
นางคอลีเยาะ บูละ
|
อาสาพัฒนาชุมชน
| ||
13
|
นายมะรอซาลี บูละ
|
อาสาพัฒนาชุมชน
| ||
14
|
นายนูรดิน แปแนะเฮ็ง
|
อาสาพัฒนาชุมชน
| ||
15
|
นายอาหะมะ หะยีมะมิง
|
ประธาน อสม.
| ||
16
|
นายมาหามะ สือนิ
|
สมาชิก อบต.
| ||
17
|
นายอาหะมะ หะยีมะมิง
|
สมาชิก อบต.
| ||
18
|
นางสาวดารียะห์ เจะหะ
|
บัณฑิตอาสา
|
การวิเคราะห์สภาพปัญหาหมู่บ้าน
(SWOT)
ศักยภาพในการพัฒนาชุมชน/หมู่บ้าน
ศักยภาพ(จุดแข็ง,โอกาส)
|
แนวทางที่จะพัฒนา
|
1.มีกองทุนหมู่บ้าน
2.มีกลุ่มสตรี
3.มีกลุ่มเยาวชน
4.มีผู้นำที่เข้มแข็ง(คณะกรรมการหมู่บ้าน)
|
-ส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพหลากหลายจากเงินกู้ยืม
-อบรมเพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้าน
-อบรมให้ความรู้แก่เยาวชนในด้านจริยธรรมหลักคำสอน
-อบรมเพิ่มประสิทธิภาพผู้นำในหมู่บ้านมากขึ้น
|
สรุปการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของชุมชน/หมู่บ้านในภาพรวม
หมวดที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-การคมนาคมไม่สะดวกถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ
-ไม่มีไฟฟ้าทางสาธารณะในหมู่บ้าน
-ไม่มีท่อระบายน้ำ
-ไม่มีลานฝึกซ้อมกีฬาในหมู่บ้าน
-ไม่มีน้ำประปาใช้ในหมู่บ้าน
|
-เป็นถนนลูกรังฝนตกน้ำท่วมขัง
-พื้นที่อยู่ห่างไกลไฟฟ้าสาธารณะเข้าไม่ถึง
-ถนนยังไม่ได้มาตรฐาน
-ไม่มีสถานที่(ที่สาธารณะ)
-ขาดแหล่งน้ำที่
ใช้ทำน้ำประปา
-ปริมาณน้ำไม่เพียงพอและน้ำไม่สะอาด
|
-จัดกิจกรรมการพัฒนาภูมิทัศน์ในหมู่บ้าน
-ขอสนับสนุนงบประมาณสร้างถนนลาดยาง
-ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแล
-สร้างถนนคอนกรีต/ลาดยางพร้อมคูระบายน้ำ
-จัดหาสถานที่และสร้างลานฝึกซ้อมกีฬา
-สร้างประปาหมู่บ้าน
-สร้างทำนบกักเก็บน้ำในหน้าฝน
|
หมวดที่ 2 ด้านเศรษฐกิจ
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-รายได้น้อย
-ผลผลิตทางการเกษตรไม่มีคุณภาพไม่มีตลาดรองรับ
-ไม่มีที่ดินทำกิน
-ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ
|
-ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ำ
-ไม่มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร
-ไม่มีอาชีพที่แน่นอน
-ไม่มีการพัฒนาคุณภาพผลผลิต
-ไม่มีความรู้เรื่องตลาด
-ถูกเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง
-ไม่มีมาตั้งแต่ดั้งเดิมหรือมีน้อยไม่สามารถประกอบอาชีพอะไรได้
-ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายรับ
-ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ
-เข้าไม่ถึงแหล่งทุนและประสบความล้มเหลวในการประกอบอาชีพ
|
-ส่งเสริมให้มีการทำอาชีพเสริมมากขึ้น
-ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร
-ฝึกอบรมการทำอาชีพเสริม
-จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปและการพัฒนาคุณภาพผลผลิต
-รวมกลุ่มเกษตรกรจำหน่ายสินค้าเอง
-หาตลาดรองรับผลผลิตของเกษตรกร
-อบรมให้ความรู้การใช้ที่ดินที่มีน้อยให้เกิดประโยชน์
-ส่งเสริมการออม
-รัฐจัดหาแล่งทุนให้เกษตรกรในการประกอบอาชีพ
-อบรมให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจแบบพอเพียง
|
หมวดที่ 3 ด้านสังคม
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-การว่างงาน
-ยาเสพติด
-ความขัดแย้งของคนในหมู่บ้าน
-ผู้สูงอายุและเด็กกำพร้าขาดการ
ดูแล
-ความยากจน
|
-ตลาดแรงงานมีน้อย
-เลือกงาน
-ขาดความรู้ความชำนาญ
-ขาดประสบการณ์ในงานที่ทำอยู่
-ครอบครัวแตกแยกขาดความอบอุ่น
-ตามเพื่อนอยากลอง
-ไม่มีงานทำ
-อิทธิพลของผู้มีอำนาจมีการแบ่งพรรคแบ่งพวกกัน
-ขาดความสามัคคี
-ขาดคุณธรรมความรับผิดชอบ
-ค่าครองชีพสูง
-ไปประกอบอาชีพที่อื่น
-ลูกมาก
-ไม่มีอาชีพที่แน่นอน
-รายได้ไม่พอกับรายจ่าย
|
-ส่งเสริมการจ้างงานในท้องถิ่น
-ส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับผู้ว่างงาน
-จัดตั้งกลุ่มอาชีพและพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีความรู้ความชำนาญในงานที่ทำมากขึ้น
-อบรมให้ความรู้การสร้างครอบครัวอบอุ่น
-จัดแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด
-ส่งเสริมสนับสนุนให้เยาวชนหันมาเล่นกีฬามากขึ้นและจัดหาอาชีพให้ทำ
-จัดกิจกรรมให้คนในชุมชนทำร่วมกันบ่อย ๆขึ้น
-อบรมจริยธรรม สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในหมู่บ้านให้มากขึ้น
-จัดสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุ
-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับผิดชอบต่อครอบครัวโดยเฉพาะผู้สูงอายุและเด็กกำพร้า
-ส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพในหมู่บ้าน
-รณรงค์การวางแผนครอบครัวมีลูกพอเหมาะ
-ส่งเสริมอาชีพที่มั่นคงให้กับครัวเรือนยากจน
-รณรงค์ให้มีการใช้จ่ายอย่างประหยัด
-ส่งเสริมการออม
|
หมวดที่ 4 ด้านสาธารณสุข
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-โรคติดต่อ
|
-ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ
|
-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ
|
หมวดที่ 5 ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-เด็กขาดโอกาสในการศึกษาต่อ
-การศึกษาด้านสายสามัญมีน้อย
|
-ขาดเงินทุน
-ขาดการแนะนำ
-ไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา
-ค่านิยม
|
-สนับสนุนเงินทุนสำหรับเด็กด้อยโอกาส
-จัดการศึกษาแบบเบ็ดเสร็จ (กศน.)ในหมู่บ้าน
-รณรงค์ให้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะภาคบังคับ
-ส่งเสริมให้มีการศึกษาสายสามัญให้มากขึ้น
|
หมวดที่ 6 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-ดินขาดความอุดมสมบูรณ์(ดินไม่มี
คุณภาพปลูกพืชไม่ขึ้น)
-ภัยแล้ง
-โรคระบาดในสัตว์เลี้ยง
|
-ขาดความรู้ด้านการบำรุงรักษาดิน
-ใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินไป
-ภัยธรรมชาติ
-ขาดความรู้เรื่องโรคระบาดสัตว์
-จากดินฟ้าอากาศหรือฤดูกาล
|
-ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการบำรุงรักษาดินที่ถูกวิธี
-ส่งเสริมการปลูกพืชแบบดั้งเดิมไม่ใช้สารเคมี
-หลีกเลี่ยงการทำอาชีพที่ต้องใช้น้ำมากในหน้าแล้ง
-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดในสัตว์เลี้ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
|
หมวดที่ 7 ด้านแหล่งน้ำ
สภาพปัญหา
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางแก้ไขปัญหา
|
-น้ำทำการเกษตรไม่เพียงพอ
-ขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้
-น้ำท่วมขังบางพื้นที่
|
-ไม่มีสถานที่เก็บกักน้ำ
-แหล่งน้ำตามธรรมชาติมีน้อยและตื้นเขิน
-ไม่มีแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดเพียงพอ
-พื้นที่เป็นที่ลุ่ม
-ไม่มีคูระบายน้ำ
|
-สร้างเขื่อนหรือทำนบเก็บกักน้ำ
-ขุดลอกแหล่งน้ำตามธรรมชาติ
-จัดหาแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้ในหมู่บ้าน
-อบรมให้ความรู้เรื่องการรักษาความสะอาดของแหล่งน้ำ
-รณรงค์ไม่ให้มีการทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำธรรมชาติเช่นแม่น้ำ คู คลองฯลฯ
-ปรับปรุงสภาพพื้นที่ที่เป็นที่ลุ่ม
-ขุดลอกคูคลองและสร้างรางระบายน้ำในหมู่บ้านให้ไหลลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
การวิเคราะห์ SOWT ปัญหาของชุมชน/หมู่บ้าน
จุดแข็งจุดเด่นของหมู่บ้าน
1. คนในชุมชนมีความขยันในการประกอบอาชีพ
2. พื้นที่เหมาะแก่การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพหลักของ
ประชาชน
3. มีประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม
4. มีการรวมตัวแก้ไขปัญหาของชุมชน
5. มีเงินทุนในหมู่บ้าน เช่น กองทุนหมู่บ้าน , โครงการ SML, โครงการอยู่ดีมีสุข,
โครงการ พนม., โครงการ พนพ., กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
6. ประชาชนมีการประหยัดและออม
7. ชุมชนให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส
8. มีคณะกรรมการที่เข้มแข็ง
จุดอ่อน จุดด้อยของหมู่บ้าน
1. ประชาชนไม่มีทุนในการประกอบอาชีพ
2. ราคาผลผลิตตกต่ำ ผลผลิตด้อยคุณภาพ
3. ประชาชนขาดความรู้ในการใช้สารเคมี
4. เทคโนโลยีสมัยใหม่และวัฒนธรรมจากภายนอกทำให้วัยรุ่นนำไปประพฤติ
ปฏิบัติตนไม่เหมาะสม
5. ขาดความรู้ด้านการประกอบอาชีพ
โอกาสจากภายนอกหมู่บ้าน
1. มีศูนย์การเรียนรู้ในแขนงวิชาการต่างๆจากภาครัฐบริการประชาชน
2. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความรู้แก่ประชาชนในการแก้ไขปัญหาความยากจน
3. ได้รับงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมในชุมชนจากหน่วยงานภาครัฐ
ภัยคุกคามจากภายนอกหมู่บ้าน
1. ผู้ไม่หวังดีสร้างความหวาดระแวงแก่ประชาชนในชุมชน
2. การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ เช่นทำลายป่า,แหล่งน้ำ, สัตว์ป่า
3. ปัญหาจาการก่อการร้าย
4. ยาเสพติด
วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน
อัตลักษณ์ของชุมชน
-ศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน
วิสัยทัศน์ของชุมชน “ชุมชนสามัคคี หลีกหนียาเสพติด”
พันธกิจ
1. ส่งเสริมการดำรงชีวิตแบบพอเพียง
2. ส่งเสริมสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
3. ส่งเสริมวิถีชีวิตชุมชน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาในชุมชน
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน
ยุทธศาสตร์
1. สนับสนุนให้ความรู้ในการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2. สร้างจิตสำนึกให้รักและหวงแหนแผ่นดินเกิดด้วยรู้รักสามัคคี
3. รณรงค์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. พัฒนาขีดความสามารถกลุ่มเศรษฐกิจชุมชนด้านการบริหารจัดการกลุ่ม
5. ฟื้นฟูสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี อันดีงามของท้องถิ่นให้คงอยู่คู่ชุมชน
กลยุทธ์
1. จัดเวทีประชาคมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. จัดทำแผนของชุมชน
3. ฝึกอบรมให้ความรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาของสังคม ชุมชน และครอบครัว
4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การจัดทำบัญชีรับ-จ่าย ของครัวเรือน
5. ส่งเสริมให้มีการประหยัดและเก็บออม
6. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครัวเรือนในชุมชนยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนงาน โครงการ กิจกรรม
กิจกรรมโครงการจากการกำหนดตำแหน่งชุมชน (Positioning) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์อยู่ดี มีสุข
กรอบแผนงานยุทธศาสตร์อยู่ดี มีสุข 5 ด้าน
| ||
แผนงาน
|
วัตถุประสงค์
|
กิจกรรม
|
1.แผนงานสร้างการเรียนรู้และความสามารถในการจัดการของชุมชน
|
-เพื่อการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืนโดยการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามาร่วมในกระบวนการคิด วิเคราะห์กำหนดตำแหน่งของตนเอง
|
1.จัดตั้งศูนย์เรียนรู้คอมพิวเตอร์ชุมชน
2.จัดทำข้อมูลพื้นฐานสำหรับหมู่บ้าน
3.จัดตั้งอุทยานการเรียนรู้หมู่บ้าน(ห้องสมุดมีชีวิต)
4.อบรมให้ความรู้ด้านวัฒนธรรมประเพณีให้กับเยาวชน
5.จัดทำวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมให้เด็กเป็นคนดีและเก่ง
6.ส่งเสริมสนับสนุนการทำวิจัย
|
2.แผนงานกำหนดตำแหน่งการพัฒนาอาชีพของชุมชนภายใต้ระบบและกลไกตลาด
|
-สนับสนุนกิจกรรมการประกอบอาชีพของคนในหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งในและนอกการเกษตร
|
1.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
2.ส่งเสริมการทำปุ๋ยชีวภาพ
3.ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
4.ส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน ( ปักจักร สานเสื่อกระจูด)
5.ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น(การนวดแผนโบราณ)
6.ส่งเสริมการทำน้ำสกัดชีวภาพใช้แทนปุ๋ยเคมี
|
ลำดับความสำคัญ
|
โครงการ/กิจกรรม
|
ประเภทโครงการ/กิจกรรม
|
งบประมาณ
(บาท)
|
หน่วยงานเจ้าของงบ
(กรณีใช้งบประมาณ)
|
ผู้รับผิดชอบโครงการ
|
หมายเหตุ
| ||
แผน
พึ่งพาตนเอง
|
แผน
ความร่วมมือ
|
แผนขอรับงบประมาณ
| ||||||
2. มิติด้านการป้องกันและรักษาความสงบของหมู่บ้าน
| ||||||||
1
|
จัดตั้งป้อมเวรยามให้กับ ชรบ.
|
/
|
30,000
|
ปกครอง/ศอ.บต.
|
ผู้ใหญ่/ชรบ.
| |||
2
|
สนับสนุนอุปกรณ์แก่ ชรบ.
|
/
|
25,000
|
-
|
ผู้ใหญ่/ชรบ.
| |||
3
|
ฝึกอบรมการใช้อาวุธปืน
|
/
|
-
|
-
|
ผู้ใหญ่/ปกครองอำเภอ
| |||
4
|
ฝึกอบรม ชรบ./อรบ.
|
/
|
20,000
|
ปกครอง/ศอ.บต.
|
ผู้ใหญ่บ้าน
| |||
5
|
สนับสนุนอุปกรณ์แก่ ชรบ./อรบ.
|
/
|
20,000
|
ปกครอง
|
ผู้ใหญ่บ้าน
| |||
6
|
สนับสนุนงบประมาณเบี้ยเลี้ยงแก่ ชรบ/อรบ.
|
/
|
20,000
|
ปกครอง/ศอ.บต.
|
ผู้ใหญ่บ้าน
| |||
7
|
ตั้งเวรยามดูแลความสงบของหมู่บ้าน
|
/
|
-
|
ผู้ใหญ่/ชรบ.
| ||||
8
|
การป้องกันยาเสพติด
|
/
|
-
|
ผู้ใหญ่/ชรบ.
| ||||
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น